ตำนานพระโคแรกนาขวัญ วันพืชมงคล เป็นอย่างไร

โดย Admin-Dream

อัพเดทล่าสุด:

วันพืชมงคล

หลายคนเคยสงสัยไหมว่าทำไมถึงต้องมีวันพืชมงคล แล้ววันพืชมงคลสำคัญอย่างไร มีความหมายถึงอะไรยังไง บทความนี้จะพาทุกคนมาทำความรู้จัก ‘วันพืชมงคล’ และพระโคแรกนาขวัญกัน ตามมาดูกันเลย

พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญในประเทศไทย เกษตรกรไทยสวมชุดไทยโบราณ โคตกแต่งด้วยผ้าสีสันสดใส และพระมหากษัตริย์ทรงประกอบพิธีไถนา พื้นหลังเป็นทุ่งนาเขียวขจีใต้ท้องฟ้าสีครามสดใส มีศาลาราชวังอยู่ไกลๆ บรรยากาศสดใสและเต็มไปด้วยวัฒนธรรมไทยที่เข้มข้น แสดงให้เห็นถึงความสำคัญของเกษตรกรรมในวัฒนธรรมไทย

วันพืชมงคล คือวันอะไร

พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญในประเทศไทย เกษตรกรไทยสวมชุดไทยโบราณ โคตกแต่งด้วยผ้าและเครื่องประดับสวยงาม และพระมหากษัตริย์ทรงประกอบพิธีไถนา พื้นหลังเป็นทุ่งนาเขียวขจีใต้ท้องฟ้าสีครามสดใส มีศาลาราชวังอยู่ไกลๆ บรรยากาศแสดงถึงความมั่งคั่งทางวัฒนธรรมและความสำคัญของพิธีนี้ที่มีต่อเกษตรกรไทย

วันพืชมงคลต่างจากวันฉัตรมงคลนะคะเพราะหนึ่งในพระราชพิธีโบราณที่สืบทอดต่อกันมาอย่างยาวนานเห็นจะหนีไม่พ้น พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ซึ่งเป็นพระราชพิธีที่มีความเก่าแก่สืบทอดต่อกันมาอย่างยาวนาน โดยมีจุดประสงค์ของพระราชพิธีคือการเสริมสร้างขวัญ และกำลังใจให้กับเกษตรกรของไทยอย่างมากเลยทีเดียว

พระโคแรกนาขวัญมีความสำคัญอย่างไร ในวันพืชมงคล

ตามคติความเชื่อของศาสนาพรามหณ์ฮินดู พระโคนนทิเป็นพาหนะของพระศิวะ ในภาพแสดงพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ โดยมีพระโคสีขาวตกแต่งด้วยพวงมาลัยและผ้าสีสันสดใส สัญลักษณ์ของความแข็งแรงและความอุดมสมบูรณ์ เกษตรกรไทยสวมชุดไทยโบราณ พื้นหลังเป็นทุ่งนาเขียวขจี มีศาลาราชวังในระยะไกลใต้ท้องฟ้าสีครามสดใส ภาพนี้สะท้อนถึงความสำคัญทางวัฒนธรรมและจิตวิญญาณของพิธีนี้ ซึ่งมีรากฐานในความเชื่อพรามหณ์ฮินดู

ตามคติความเชื่อของศาสนาพรามหณ์ฮินดู เชื่อกันว่า พระโคหรือพระโคนนทิเป็นหนึ่งในเทวดาผู้เป็นพาหนะของพระศิวะ พระโคนนทิยังเปรียบเสมือนกับการใช้แรงงาน และความเข้มแข็ง รวมไปถึงความอุดมสมบูรณ์ อีกด้วย ด้วยเหตุนี้เองพระโคจึงถูกนำมาใช้ในพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ ซึ่งพระราชพิธีประเพณีโบราณนี้มีมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1แสดงถึงสัญญะของความอุดมสมบูรณ์

พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ คืออะไร

พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญในประเทศไทย พระมหากษัตริย์ทรงประกอบพิธีไถนาพร้อมโคตกแต่งอย่างงดงาม เกษตรกรไทยในชุดไทยโบราณล้อมรอบพิธี พระสงฆ์ร่วมสวดมนต์เป็นส่วนหนึ่งของพิธี พื้นหลังเป็นทุ่งนาเขียวขจีใต้ท้องฟ้าสีครามสดใส มีวัดโบราณในระยะไกล สะท้อนถึงประวัติศาสตร์ยาวนานของพิธีตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงยุครัตนโกสินทร์

สำหรับพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญนั้นเป็นพระราชพิธีที่สร้างขวัญและกำลังให้ใจให้กับเกษตรกรชาวนา หรือกลุ่มคนที่ทำไร่ทำสวนทำนา โดยพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญนี้มีมาตั้งแต่ยุคสมัยสุโขทัย เรื่อยมาจนอยุธยาไปจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ โดยเฉพาะรัชกาลที่ 4 ทีได้จัดให้เกิดพิธีสงฆ์ การสวดมนต์ ร่วมกันด้วย จึงกลายเป็นพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา

พระโค มาจากไหน

1.     พระโคกิน น้ำ  

คำทำนายเมื่อพระโคกินน้ำ โหรทำนายว่า ในปีพุทธศักราช 2567 นี้ ทำนายไว้ว่า น้ำท่าจะบริบูรณ์พอสมควร กล่าวคือ ชาวบ้านมีน้ำท่าไว้อาบ ดื่ม กิน หรือบริโภคที่พอเพียง

2.     พระโคกิน หญ้า

คำทำนายเมื่อพระโคกินหญ้า โหรทำนายว่า ในปีพุทธศักราช 2567 นี้ ทำนายไว้ว่า ธัญญาหาร ผลาหาร ภักษาหาร มังสาหารจะมีความอุดมสมบูรณ์ กล่าวคือ ชาวบ้านจะมีอาหาร พืช ผัก รับประทานอย่างอุดมสมบูรณ์อีกด้วย

3.     พระโคกิน เหล้า

คำทำนายเมื่อพระโคกินเหล้า โหรทำนายว่า ในปีพุทธศักราช 2567 นี้ ทำนายไว้ว่า การคมนาคมจะสะดวกสบายขึ้น กล่าวคือ ชาวบ้านจะมีเส้นทางคมนาคมที่สะดวกสบายมากขึ้น ชาวบ้านจะทำการค้มาาขาย กับต่างประเทศได้ดียิ่งขึ้น ทำเศรษฐกิจบ้านเศรษฐกิจเมืองเจริญเฟื่องฟูรุ่งเรืองเป็นอย่างมาก

สำหรับในปีนี้พระโคแรกนาขวัญมาจากจังหวัดราชบุรี ซึ่งพระโคถูกเลี้ยงดูอย่างดี โดยพระโคแรกนาขวัญจะต้องมีลักษณะดีอันได้แก่ หูดี ตาดี ร่างกายแข็งแรง เขาตั้งตรงสวยงาม รวมไปถึงสีของพระโคแต่ละคู่ที่จะนำไปใช้ในพระราชพิธีระเบียบประเพณีโบราณนั้นจะต้องมีสีเดียวกัน กล่าวได้ว่า สีขาวก็สีขาวทั้งคู่ หรือเป็นสีน้ำตาลแดงก็ต้องน้ำตาลแดงเหมือนกัน ทั้งยังต้องเป็นเพศผู้ที่ตอนแล้วเท่านั้นตามระเบียบโบราณราชประเพณีได้กำหนดไว้

ทำความรู้จัก พระโคแรกนาขวัญ

ในปีพุทธศักราชปี 2567 นั้น ในพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญได้พระโคพอ พระโคเพียงมาใช้ในงานโบราณราชประเพณี โดยพระโคพอ มีลักษณะความสูงประมาณ 165 เซนติเมตร รอบอก 214 เซนติดเมตร อายุ 12 ปี ส่วนพระโคเพียงมีความสูง 169 เซนติเมตร มีรอบอก 210 เซนติเมตร และมีอายุเท่ากันกับพระโคพออีกด้วย

นอกจากนี้ในพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญนั้นยังต้องมีพระโคสำรองไว้ นั้นคือ พระโคเพิ่ม และพระโคพูลอีกด้วย ซึ่งพระโคเพิ่มเป็นพระโคที่มีลักษณะความสูง 162 เซนติเมตร รอบอก 201 เซนติเมตร อายุ 14 ปี ฝ่ายพระโคพูล มีลักษณะความสูง 157 เซนติเมตร และ รอบอก 205 เซนติเมตร อายุเท่ากันกับพระโคเพิ่มนั่นเองค่ะ

คำทำนายพระโคกินอะไรไปบ้าง ความหมายของแต่ละอย่าง

1.     พระโคกิน น้ำ  

คำทำนายเมื่อพระโคกินน้ำ โหรทำนายว่า ในปีพุทธศักราช 2567 นี้ ทำนายไว้ว่า น้ำท่าจะบริบูรณ์พอสมควร กล่าวคือ ชาวบ้านมีน้ำท่าไว้อาบ ดื่ม กิน หรือบริโภคที่พอเพียง

2.     พระโคกิน หญ้า

คำทำนายเมื่อพระโคกินหญ้า โหรทำนายว่า ในปีพุทธศักราช 2567 นี้ ทำนายไว้ว่า ธัญญาหาร ผลาหาร ภักษาหาร มังสาหารจะมีความอุดมสมบูรณ์ กล่าวคือ ชาวบ้านจะมีอาหาร พืช ผัก รับประทานอย่างอุดมสมบูรณ์อีกด้วย

3.     พระโคกิน เหล้า

คำทำนายเมื่อพระโคกินเหล้า โหรทำนายว่า ในปีพุทธศักราช 2567 นี้ ทำนายไว้ว่า การคมนาคมจะสะดวกสบายขึ้น กล่าวคือ ชาวบ้านจะมีเส้นทางคมนาคมที่สะดวกสบายมากขึ้น ชาวบ้านจะทำการค้มาาขาย กับต่างประเทศได้ดียิ่งขึ้น ทำเศรษฐกิจบ้านเศรษฐกิจเมืองเจริญเฟื่องฟูรุ่งเรืองเป็นอย่างมาก

บทสรุป พิธีกรรมพระโคแรกนาขวัญ วันพืชมงคล พิธีกรรมที่สำคัญของไทย

นับได้ว่าพระโคแรกนาขวัญจะเป็นส่วนสำคัญในพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ พระราชพิธีตามโบราณราชประเพณีไทยเป็นอย่างมากเลยทีเดียวค่ะ ซึ่งตามตำนานในคัมภีร์ของศาสนาฮินดูพระโคยังแสดงถึงพละ กำลังความแข็งแกร่ง ความแข็งแรง และความสมบูรณ์พูลสุข ทำให้คนอินเดียมีความศรัทธาในพระโค เพราะพวกเขาเชื่อว่าพระโคก็คือพระโคนนทิที่เป็นพาหนะสัตว์เทพของสยมภู หรือมหาเทพนั่นเองค่ะ

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า